10 เทคนิคการให้คะแนนอย่างมีประสิทธิภาพที่ครูต้องรู้

Starfish Academy
Starfish Academy 2298 views • 7 เดือนที่แล้ว
10 เทคนิคการให้คะแนนอย่างมีประสิทธิภาพที่ครูต้องรู้

ด้วยบริบทของการศึกษาไทยที่ห้องเรียนส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยนักเรียนไม่น้อยกว่า 30 คน ต่อคุณครู 1 คน (ไม่นับบริบทโรงเรียนขนาดเล็ก) ทำให้คุณครูต้องใช้เวลาอย่างมากในการให้คะแนนในช่วงสอบกลางภาคหรือปลายภาค ซึ่งการให้คะแนนของนักเรียนนั้นมีความสำคัญต่อการศึกษาต่อและการส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นอย่างมาก ดังนั้น การรู้วิธีการให้คะแนนอย่างมีประสิทธิภาพจะช่วยให้คุณครูประหยัดเวลามากขึ้น ด้วย 10 เทคนิคต่อไปนี้

1.หลีกเลี่ยงการให้คะแนนทุกอย่าง : เรื่องนี้อาจทำให้คุณครูบรรจุใหม่ตกใจ แต่การให้คะแนนงานทุกชิ้นบนโต๊ะ อาจทำให้สิ้นเปลืองพลังงานของคุณครูได้แทนที่จะใช้เวลาไปกับการวางแผนการสอนในครั้งต่อไปนี้ ดังนั้น แทนที่จะให้คะแนนกับทุกชิ้นงานของนักเรียน คุณครูลองเปลี่ยนเป็นการประเมินรายครั้ง โดยอาศัยการสังเกตการมีส่วนร่วมของนักเรียนแทน เช่น นักเรียนเข้ามาร่วมกิจกรรมอภิปรายในชั้นเรียน นักเรียนส่งบันทึกการเรียนรู้ในแต่ละวัน เปลี่ยนจากการให้คะแนนรายข้อ เป็นการให้คะแนนการมีส่วนร่วมของนักเรียนแทน เพื่อประหยัดเวลา

2.ใช้เทคนิคการให้คะแนนที่แตกต่างกัน : ระบบการให้คะแนนที่เราพบมากคือให้การระบบเกรดเฉลี่ย (GPA) ร่วมกับเกรดที่เป็น 1-4 หรือ A-D เป็นต้น อย่างไรก็ตามมีเทคนิคการให้คะแนนที่มากมายให้คุณครูได้เลือกใช้เพื่อให้เหมาะสมกับช่วงวัย และความสามารถหรือความต้องการพิเศษของนักเรียนให้คุณครูได้พิจารณาเลือกใช้ ดังนี้ 1. การให้คะแนนตามมาตรฐาน เป็นการให้คะแนนตามมาตรฐานโดยแบ่งเป็นเป้าหมายการเรียนรู้ ที่ลึกกว่าการให้คะแนนเพียงอย่างเดียว ขึ้นอยู่กับว่านักเรียนสามารถแสดงความสามารถได้ดีเพียงใด เช่น การนำเสนอหน้าชั้นเรียน ครูจะประเมินทักษะของนักเรียน ณ ตอนนั้น โดยอาจแบ่งเกณฑ์ได้ว่า ต่ำกว่ามาตรฐาน/ ตามมาตรฐาน/เกินมาตรฐาน เป็นต้น 2. ระบบ ผ่าน-ไม่ผ่าน ซึ่งระบบนี้อาจจะเหมาะสมกับวิชาที่ให้นักเรียนได้แสดงความสามารถเฉพาะเจาะจง เช่น ดนตรี หรือ กีฬาเป็นต้น แต่อาจจะไม่เหมาะกับบางสาระวิชา

*หมายเหตุ ทั้งนี้ทั้งนั้นไม่มีระบบการให้คะแนนที่เหมาะสมที่สุด คุณครูสามารถเลือกใช้ระบบการใช้คะแนนให้เหมาะสมกับบริบทห้องเรียนของตนเอง

  1. สร้างเกณฑ์การให้คะแนน (Rubric) : การสร้างรูบิคให้คะแนน หรือมาตราส่วนการให้คะแนนมีประโยชน์สำหรับนักเรียนและครูเป็นอย่างมาก ช่วยให้ครูหลีกเลี่ยงความคิดเห็นซ้ำๆ และสามารถนำกลับมาใช้สำหรับวิชาอื่นๆ ได้ ช่วยประหยัดเวลาในการให้คะแนน อีกทั้งรูบิคยังช่วยให้นักเรียนทราบความคาดหวังของแต่ละกิจกรรมอย่างชัดเจน ลดความสับสนของนักเรียน และช่วยให้ครูชัดเจนในตัวเองว่าต้องการเห็นผลลัพธ์ของนักเรียนเป็นอย่างไร
  2. ดึงนักเรียนมีส่วนร่วมในการให้คะแนน : อย่าลืมว่านักเรียนเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการให้คะแนนได้เช่นกัน แทนที่คุณครูจะใช้เวลาในการทำเอกสารด้วยตัวเอง คุณครูสามารถให้นักเรียนช่วยให้คะแนนเพื่อนได้ เช่น การสลับให้นักเรียนช่วยกันตรวจการบ้านของเพื่อน ข้อดีของการให้คะแนนแบบนี้ ช่วยให้นักเรียนปรับความเข้าใจเรื่องเนื้อหา และเพิ่มทักษะการคิดวิพากษ์ได้ด้วย
  3. หลีกเลี่ยงการให้การบ้านในเชิงปริมาณ แต่เน้นที่คุณภาพมากกว่า : คุณครูอาจคิดว่าการให้การบ้านเยอะๆ นั่นหมายถึงนักเรียนจะได้เรียนรู้เยอะๆ แต่ความจริงไม่ใช่แบบนั้น การให้การบ้านเยอะอาจส่งผลตรงกันข้าม นักเรียนอาจจะต่อต้านการเรียนรู้ ดังนั้นขอให้ครูประเมินคุณค่า หรือหัวใจสำคัญของกิจกรรมนั้นๆ ว่าภาระงานแบบไหนที่ควรมอบหมายให้นักเรียนทำแล้วเกิดประโยชน์กับนักเรียนจริงๆ เช่น ลดงานแบบฝึกหัดยิบย่อย แต่มอบหมายงานเป็นโครงการ เพื่อให้นักเรียนแบ่งสรรปันส่วนกับเพื่อนๆ เอง
  4. ลดสิ่งรบกวนในช่วงเวลาที่ให้คะแนน : คุณครูอาจจะเสียสมาธิได้ง่ายหากเปิดการแจ้งเตือนต่างๆเพราะเมื่อเวลาคุณครูให้คะแนน สิ่งสำคัญคือการหาสภาพแวดล้อมที่เงียบสงบ ที่จะช่วยให้คุณครูมีสมาธิและทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยทำได้คือ ปิดการแจ้งเตือนในมือถือ ปิดการแจ้งเตือนในคอมพิวเตอร์ หรือนำมือถือไว้ห่างจากตัว เป็นต้น
  5. กำหนดเวลาให้คะแนนอย่างชัดเจน : ระบุช่วงเวลาที่คุณครูจะทำคะแนนของนักเรียนให้เสร็จอย่างชัดเจน
  6. ใช้เทคโนโลยีเป็นตัวช่วย : ในปัจจุบันมีแอปพลิเคชันมากมายที่จะช่วยให้คุณครูสามารถทำคะแนน หรือประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เช่น Google forms / Google sheet / Zipgrade / Kahoot เป็นต้น
  7. สร้างระบบการฟีดแบ็ก : นอกเหนือจากการให้คะแนนแล้ว คุณครูอาจจะสร้างระบบการให้ฟีดแบ็กกับนักเรียนอย่างเป็นระบบ เพราะการมีระบบฟีดแบ็กจะช่วยให้ครูและนักเรียนเกิดการพัฒนาร่วมกัน เช่น การสร้างระบบฟีดแบ็กแบบวนรอบ โดยใน 1 สัปดาห์ คุณครูให้นักเรียนเขียนฟีดแบ็ก แล้วนำมาประกอบกับการคะแนนได้
  8. หาเวลาพักผ่อน : หลังจากการทำคะแนนให้นักเรียนมาหลายชั่วโมง คุณครูควรหาเวลาในการพักผ่อนบ้าง จากศึกษาพบว่าการหยุดทำงานเพียงเล็กน้อย จะช่วยให้คุณครูสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพได้มากขึ้น เพราะการทำงานโดยไม่หยุดพักเป็นเวลานาน นำไปสู่การเครียด และเหนื่อยล้า จนคุณครูอาจหมดไฟได้ ดังนั้น ลองหาเวลาพัก ลุกขึ้นเดิน หรือเคลื่อนไหวทุกๆ 2-3 ชั่วโมง เป็นต้น

ทั้ง 10 ข้อนี้ เป็นเทคนิคที่จะช่วยให้คุณครูสามารถให้คะแนนนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เป็นทั้งเทคนิคในเชิงวิชาการและเชิงการดูแลสุขภาพองค์รวมของคุณครู ซึ่งคุณครูสามารถนำไปปรับใช้ตามบริบทห้องเรียนของตัวเองได้ค่ะ 

อ้างอิง

10 Grading Tips for Teachers https://shorturl.at/xEP38



มาร่วมเรียนรู้กับ Starfish Labz

แหล่งเรียนรู้และชุมชนออนไลน์เพื่อนักการศึกษาและผู้ปกครอง

ลงทะเบียน

Related Courses

เครืองมือครู
ด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ ด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม การบริหารจัดการตนเอง
basic
2:00 ชั่วโมง

เตรียมพร้อมก่อนทำคลิปประเมินวิทยฐานะ EP.1 วิธีการสอน

หลักสำคัญ ในการสอนที่มีประสิทธิภาพ 8 ข้อ ซึ่งจะใช้ในการประเมินคลิปการสอนของครู เป็นแนวทางใหม่ของการประเมินวิทยฐานะของครู

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
เตรียมพร้อมก่อนทำคลิปประเมินวิทยฐานะ EP.1 วิธีการสอน
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

เตรียมพร้อมก่อนทำคลิปประเมินวิทยฐานะ EP.1 วิธีการสอน

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
3509 ผู้เรียน
เครืองมือครู
การรู้จักตนเอง การบริหารจัดการตนเอง
basic
2:00 ชั่วโมง

การประเมินเพื่อขอ เลื่อนวิทยฐานะใหม่ “ตำแหน่งครู”

เรียนรู้ ทำความเข้าใจภาพรวมของการประเมินเพื่อขอมี / เลื่อนวิทยฐานะใหม่ “ตำแหน่งครู” (วPA)

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
การประเมินเพื่อขอ เลื่อนวิทยฐานะใหม่ “ตำแหน่งครู”
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

การประเมินเพื่อขอ เลื่อนวิทยฐานะใหม่ “ตำแหน่งครู”

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
6383 ผู้เรียน
เครืองมือครู
ด้านความร่วมมือการ ทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ ด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ ด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม ด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา
basic
1:30 ชั่วโมง

Micro Learning เทคนิคการจัดการเรียนการสอน 1

คุณภาพของผู้เรียนนอกจากจะเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบในตัวผู้เรียนเอง แล้วกระบวนการเรียนการสอนที่ครู จัดให้เป็นสิ่งสำคัญต่อผลสัม ...

Starfish Academy
Starfish Academy
Micro Learning เทคนิคการจัดการเรียนการสอน 1
Starfish Academy

Micro Learning เทคนิคการจัดการเรียนการสอน 1

Starfish Academy
เครืองมือครู
ด้านความร่วมมือการ ทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ ด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ ด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม
basic
3:30 ชั่วโมง

นวัตกรรม Booklet ทำอย่างไรให้ ว้าว!

วันนี้ Starfish Labz มีเคล็ดลับดีๆ ที่จะช่วยให้ครูผู้สอนได้เทคนิคการออกแบบกิจกรรมใน Booklet ให้มีความน่าสนใจ สร้างสรร ...

นจรส  ศิริขรรแสง (ครูเจ)
นจรส ศิริขรรแสง (ครูเจ)
นวัตกรรม Booklet ทำอย่างไรให้ ว้าว!
นจรส  ศิริขรรแสง (ครูเจ)

นวัตกรรม Booklet ทำอย่างไรให้ ว้าว!

นจรส ศิริขรรแสง (ครูเจ)

ต้องใช้ 100 เหรียญ

Related Videos

สอนอย่างไรให้ได้ 3 ผ่าน
01:12:45
Starfish Academy

สอนอย่างไรให้ได้ 3 ผ่าน

Starfish Academy
371 views • 9 เดือนที่แล้ว
สอนอย่างไรให้ได้ 3 ผ่าน
เขียน วPA อย่างไร? ให้เกิดคุณค่ากับนักเรียน
08:56
Starfish Academy

เขียน วPA อย่างไร? ให้เกิดคุณค่ากับนักเรียน

Starfish Academy
746 views • 2 ปีที่แล้ว
เขียน วPA อย่างไร? ให้เกิดคุณค่ากับนักเรียน
แบ่งปันไอเดียสร้างห้องเรียนสมรรถนะตามเกณฑ์ วPA สอนอย่างไรให้ผ่าน PA
01:03:03
Starfish Academy

แบ่งปันไอเดียสร้างห้องเรียนสมรรถนะตามเกณฑ์ วPA สอนอย่างไรให้ผ่าน PA

Starfish Academy
421 views • 9 เดือนที่แล้ว
แบ่งปันไอเดียสร้างห้องเรียนสมรรถนะตามเกณฑ์ วPA สอนอย่างไรให้ผ่าน PA
เทคนิคการออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
01:28:36

เทคนิคการออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน

279 views • 1 เดือนที่แล้ว
เทคนิคการออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน