ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้อย่างไรให้ครบ 8 องค์ประกอบ วPA
"ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้อย่างไร ให้ครบ 8 องค์ประกอบ วPA" การนำ 8 องค์ประกอบ ตามเกณฑ์ วPA มาสอดแทรกในการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการตามที่ทาง ก.ค.ศ. กำหนดใช้เป็นเกณฑ์สำหรับการประเมินข้าราชการครู เพื่อขอมีหรือเลื่อนวิทยฐานะนั้น เป็นการส่งเสริมให้ครูได้พัฒนาตนเองในด้านของความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) ความรู้สายวิชาชีพที่ชำนาญ ทักษะในการสอน หรือความเชี่ยวชาญในเรื่องที่สอน และเจตคติ จนเกิดเป็นสมรรถนะ และใช้ความสามารถของสมรรถนะในการแสดงออกมาในห้องเรียน (Performance) ที่ส่งผลต่อผู้เรียน การออกแบบการเรียนรู้แบบ Active ตาม 8 องค์ประกอบ ควรเริ่มจากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ดี ที่ประกอบด้วยกระบวนการ เทคนิคการจัดการเรียนรู้ กลยุทธ์ในการจัดการชั้นเรียน สื่อประกอบการเรียนรู้ และอื่น ๆ ที่ส่งผลให้
- ผู้เรียนสามารถเข้าถึงสิ่งที่เรียนและเข้าใจบทเรียน
- ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ หรือประสบการณ์เดิมกับการเรียนรู้ใหม่
- ผู้เรียนได้สร้างความรู้เอง หรือได้สร้างประสบการณ์ใหม่จากการเรียนรู้
- ผู้เรียนได้รับการกระตุ้นและเกิดแรงจูงใจในการเรียนรู้
- ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะความเชี่ยวชาญจากการเรียนรู้
- ผู้เรียนได้รับข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อปรับปรุงการเรียนรู้
- ผู้เรียนได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ในบรรยากาศชั้นเรียนที่เหมาะสม และ
- ผู้เรียนสามารถกำกับการเรียนรู้และมีการเรียนรู้แบบนำตนเอง และองค์ประกอบย่อยมาจัดแผนการเรียนรู้
และนี่เป็นความท้าทายที่เราจะชวนคุณครูทุกท่านมาร่วมค้นหาคำตอบและความเป็นไปได้ใหม่ ๆ ร่วมกัน
📍รู้จักกับเราเพิ่มเติม 📍
✅สมัครเรียนออนไลน์ฟรี พร้อมรับเกียรติบัตรกับ Starfish Labz: www.starfishlabz.com
✅ ดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่นประเมินทักษะและสมรรถนะด้วย Starfish Class: www.starfishclass.com
✅ ติดต่อรับบริการด้านการศึกษา Starfish Education Social Enterprise: www.starfishedu.org/
✅ กดติดตามข่าวสารอื่นๆ ของ STARFISH EDUCATION ได้ที่
• FACEBOOK: www.facebook.com/starfishlabz
• FACEBOOK: www.facebook.com/StarfishAcademy2019
• YOUTUBE : Starfish Labz Channel
วิดีโอใกล้เคียง


เทคนิคการเชื่อมโยงด้านที่ 1 และ ด้านที่ 2 ให้ร้อยรัดกัน


สร้างบรรยากาศเชิงบวกในห้องเรียนอย่างไรให้ผ่าน วPA


คิดค้นและปรับเปลี่ยน โจทย์สำคัญ ครูเชี่ยวชาญ วPA


แนวทางสู่ความสำเร็จ วPA การศึกษาพิเศษ
คอร์สใกล้เคียง
Micro Learning เทคนิคการจัดการเรียนการสอน 1
คุณภาพของผู้เรียนนอกจากจะเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบในตัวผู้เรียนเอง แล้วกระบวนการเรียนการสอนที่ครู จัดให้เป็นสิ่งสำคัญต่อผลสัม ...



เตรียมพร้อมกับวิทยฐานะใหม่
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งวิทยฐานะครู (วPA) เพื่อการพัฒนาการศึกษาและความก้าวหน้าในวิชาชีพครู



เตรียมพร้อมกับวิทยฐานะใหม่
ฝึกทักษะพื้นฐานในการตัดสินใจ (Decision Making)
การตัดสินใจที่ดีและมีประสิทธิภาพนั้น ถ้าหากได้รับการฝึกฝนทักษะการตัดสินใจตั้งแต่วัยรุ่น ก็จะเพิ่มโอกาสที่จะประสบความสำเร็จในชีวิ ...



การสอนคณิตศาสตร์แบบ Active Learning เพื่อวิทยฐานะ (PA)
การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning เพื่อพัฒนาเทคนิคการสอนคณิตศาสตร์ และเพื่อเป็นแนวทางในการประเมินวิทยฐานะ (PA)



การสอนคณิตศาสตร์แบบ Active Learning เพื่อวิทยฐานะ (PA)
บทความใกล้เคียง
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับระดับการปฏิบัติที่คาดหวังตามมาตรฐานวิทยฐานะ

10 นวัตกรรม Highlight จากครูมีไฟ หัวใจฮีโร่ Season 3

Starfish Talk: ครู SMART ทำได้สร้างห้องเรียนสมรรถนะตามเกณฑ์ วPA – วงคุยเคล็ดลับ วPA จากผู้ปฏิบัติจริง
