Constructive Criticism คืออะไร? ทำไมเด็กๆ จำเป็นต้องรู้?

Starfish Academy
Starfish Academy 9191 views • 4 ปีที่แล้ว
Constructive Criticism คืออะไร? ทำไมเด็กๆ จำเป็นต้องรู้?

Constructive criticism คือการสะท้อน หรือวิจารณ์อย่างสร้างสรรค์ หรือจะเรียกง่าย ๆ ว่าการติเพื่อก่อก็คล้ายกัน ซึ่งจะเน้นไปที่การ “ให้ความสำคัญกับผลประโยชน์ผู้รับการวิจารณ์” มากกว่าใช้อารมณ์เป็นที่ตั้งในการวิจารณ์ ข้อดีของการมอบ Constructive criticism คือการที่เด็ก ๆ จะได้รับข้อมูลที่สามารถช่วยพวกเขาในการพัฒนา และ ยังทำให้ทุกคนในห้องเรียนเปิดใจกันมากขึ้น แต่อย่างไรก็ตามสิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อพวกเขาเข้าใจการรับคำวิจารณ์อย่างสร้างสรรค์เสียก่อน

 

1. สอนให้เด็ก ๆ ว่า วิจารณ์แบบสร้างสร้างสรรค์/Constructive Criticism คืออะไร

นักเรียนหลายคนอาจจะยังไม่รู้จักคำวิจารณือย่างสร้างสรรค์ ลองยกตัวอย่างง่ายๆอย่างการก่อสร้างที่ค่อย ๆ ก่ออิฐขึ้นไป เพื่อให้เด็ก ๆ เห็นภาพมากขึ้น เนื่องจากการวิจารณ์อย่างสร้างสรรค์ จะเป็นการที่เราช่วยกันเสริส เติม ในส่วนที่แต่ละคนขาดหายไป มากกว่าเจตนาในการบ่อนทำลายจากคำพูดแบบ Destructive Cricism

ตัวอย่าง ใช้เวลาไม่เกิน 30 นาทีในห้องเรียนในการเปรียบเทียบ Constuctive Criticism กับ Destructive Criticism ที่เป็นขั้วตรงข้าม ให้เก็นถึงจุดประสงค์ และเจตนาของคำพูดแต่ละแบบ


2. ฝึกการเปลี่ยนความคิดเห็นแง่ลบมาเป็นความคิดเห็นแบบสร้างสรรค์

ลองยกตัวอย่างจากสื่อต่าง ๆ นักเรียนจะสามารถเห็น หรือได้ยินคำวิจารณ์แบบทำลายล้าง ( Destructive Crticism ) แล้วเราในฐานะครูผู้สอนก็สามารถลองหยิบคำเหล่านั้นมาเปลี่ยนเป็นคำวิจารณ์แบบสร้างสรรค์ให้เด็ก ๆ ได้เห็นเป็นตัวอย่างได้ หรือจะเป็นคำวิจารณ์แบบทำลายล้างที่เด็ก ๆ เจอบ่อย ๆ ในห้องเรียนก็ได้

ตัวอย่างอย่างคำว่า “ที่เธอตอบมาไม่ใกล้เคียงกับคำว่าถูกเลย” เปลี่ยนเป็น “เมื่อครู่ได้ยินคำถามชัดไหม? อย่าเพิ่งใจลอยกับหัวข้อนี้ล่ะ” ซึ่งจะทำให้นักเรียนจัดการกับคำวิจารณ์ได้ดีกว่าและเป็นการช่วยให้เขานำไปปรับปรุงได้ง่ายกว่า


3. อย่าเก็บมาเป็นแค่เรื่องของ“ตัวเอง”

เด็ก ๆ หลายคนอาจเคยได้รับคำวิจารณ์แบบทำลายล้าง ( Destructive Crticism )

 ที่ส่งผลทำลายต่อตัวบุคคลมากกว่าการนำไปปรับปรุงในการทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้ดีขึ้น เราจึงควรสอนให้เด็ก ๆ แยกการรับฟังคำวิจารณ์ และ ไม่นำมาเป็นแค่เรื่องส่วนตัว เพระาคำวิจารณ์เหล่านั้นเป็นเพียงการช่วยเสริมสิ่งที่พวกเขาสามารถจะทำ และควบคุมได้ให้ดียิ่งขึ้น เช่น การที่คุณครูพูดว่า “ฉันรู้ว่าเธอสามารถทำได้ดีกว่านี้ได้” นี่คือการวิจารณ์อย่างสร้างสรรค์ เนื่องจากเป็นเรื่องที่อยู่การควบคุมของตัวเด็ก ๆ และพวกเขาสามารถทำมันให้ดีกว่านี้ได้ โดยเฉพาะเมื่อคุณครูรู้ว่าพวกเขาทำได้ดีมากขึ้นจริง ๆ


4. ตัวอย่างจากชีวิตจริง

ลองให้นักเรียนจับกลุ่มช่วยกันหาบุคคลที่มีชื่อเสียงที่นำคำวิจารณ์ แต่พวกเขาสร้างคำเหล่านั้นเป็นแรงผลักดันและทำให้พวกเขาสำเร็จ ไม่ว่าจะเป็นนักเขียนชื่อดังอย่าง เจ.เค โรวลิง ที่ถูกวิจารณ์ว่าไม่มีเด็กคนไหนสนใจหนังสือเกี่ยวกับพ่อมดอีกแล้ว แต่เขาก็สามารถเอาชนะมันได้และทำหนังสือชื่อดังอย่าง แฮรี่ พอตเตอร์ ได้สำเร็จ


5. สอนให้ใช้ Constructive Criticism ให้เป็นนิสัย

สนับสนุนให้พวกเขาใช้คำวิจารณ์อย่างสร้างสรรค์ โดยเฉพาะเวลาที่นักเรียนต้องทำงานร่วมกัน เนื่องจากเป็นช่วงเวลาที่ต้องแลกเปลี่ยนและเข้าใจกันและกันมากขึ้น คำวิจารณ์อย่างสร้างสรรค์เป็นออีกสิ่งหนึ่งที่ช่วยในการทำงานและความเข้าใจกันและกัน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการงาน

 

ขอบคุณข้อมูลจาก

clarendonlearning.org/help-students-manage-constructive-criticism/

มาร่วมเรียนรู้กับ Starfish Labz

แหล่งเรียนรู้และชุมชนออนไลน์เพื่อนักการศึกษาและผู้ปกครอง

ลงทะเบียน

Related Courses

เครืองมือครู
ด้านความร่วมมือการ ทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ ด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ ด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม
basic
3:30 ชั่วโมง

นวัตกรรม Booklet ทำอย่างไรให้ ว้าว!

วันนี้ Starfish Labz มีเคล็ดลับดีๆ ที่จะช่วยให้ครูผู้สอนได้เทคนิคการออกแบบกิจกรรมใน Booklet ให้มีความน่าสนใจ สร้างสรร ...

นจรส  ศิริขรรแสง (ครูเจ)
นจรส ศิริขรรแสง (ครูเจ)
นวัตกรรม Booklet ทำอย่างไรให้ ว้าว!
นจรส  ศิริขรรแสง (ครูเจ)

นวัตกรรม Booklet ทำอย่างไรให้ ว้าว!

นจรส ศิริขรรแสง (ครูเจ)

ต้องใช้ 100 เหรียญ

คุณธรรมและจริยธรรม
ด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ การบริหารจัดการตนเอง
basic
2:00 ชั่วโมง

Social and cultural awareness classroom

ห้องเรียนความตระหนักรู้ทางสังคมและวัฒนธรรม เป็นการออกแบบการเรียนรู้เพื่อสร้างความตระหนักรู้ทางสังคมและวัฒนธรรม ให้ผู้เ ...

Starfish Academy
Starfish Academy
Social and cultural awareness classroom
Starfish Academy

Social and cultural awareness classroom

Starfish Academy
การดูแลสุขภาพกายและจิตใจ
ด้านความร่วมมือการ ทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ ด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ ด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม ด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา
basic
1:30 ชั่วโมง

Micro Learning เทคนิคการดูแลสุขภาพกายระดับชั้น ม.ต้น

วัยรุ่น หากมีร่างกายที่สมส่วนย่อมทำให้มีสุขภาพดี การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และออกกำลังกายสม่ำเสมอ จะส่งผลร่างกายแข็งแร ...

Starfish Academy
Starfish Academy
Micro Learning เทคนิคการดูแลสุขภาพกายระดับชั้น ม.ต้น
Starfish Academy

Micro Learning เทคนิคการดูแลสุขภาพกายระดับชั้น ม.ต้น

Starfish Academy
ภาษาและการสื่อสาร
ด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ ด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา
basic
3:00 ชั่วโมง

How to พูดอังกฤษยังไงให้เป๊ะ แบบไม่เน้นท่องจำ

การสื่อสารภาษาอังกฤษ ใครว่ายาก? หากเราเข้าใจ และสื่อสารมันจากความรู้สึก และไม่ต้องกังวลจนเกินไป ในคอร์สเรียนนี้เราจ ...

ศรีชัยยะพรกณก กิจเวชเจริญ (อ.บี)
ศรีชัยยะพรกณก กิจเวชเจริญ (อ.บี)
How to พูดอังกฤษยังไงให้เป๊ะ แบบไม่เน้นท่องจำ
ศรีชัยยะพรกณก กิจเวชเจริญ (อ.บี)

How to พูดอังกฤษยังไงให้เป๊ะ แบบไม่เน้นท่องจำ

ศรีชัยยะพรกณก กิจเวชเจริญ (อ.บี)

ต้องใช้ 100 เหรียญ

Related Videos

ผู้เรียนเป็นหลัก "ห้องเรียนฐานสมรรถนะ (CBE)"
04:16
Starfish Academy

ผู้เรียนเป็นหลัก "ห้องเรียนฐานสมรรถนะ (CBE)"

Starfish Academy
492 views • 3 ปีที่แล้ว
ผู้เรียนเป็นหลัก "ห้องเรียนฐานสมรรถนะ (CBE)"
ฝ่าประเด็นท้าทายผู้อำนวยการผู้สร้างโอกาสทางการศึกษา
06:20
Starfish Academy

ฝ่าประเด็นท้าทายผู้อำนวยการผู้สร้างโอกาสทางการศึกษา

Starfish Academy
639 views • 2 ปีที่แล้ว
ฝ่าประเด็นท้าทายผู้อำนวยการผู้สร้างโอกาสทางการศึกษา
Starfish Trend Talk | EP.3 | : เราต่างต้องค้นหาตัวเองในทุกช่วงวัย
43:23
Starfish Academy

Starfish Trend Talk | EP.3 | : เราต่างต้องค้นหาตัวเองในทุกช่วงวัย

Starfish Academy
389 views • 1 ปีที่แล้ว
Starfish Trend Talk | EP.3 | : เราต่างต้องค้นหาตัวเองในทุกช่วงวัย
Social & Cultural Awareness แตกต่างอย่างเข้าใจ
04:01
Starfish Academy

Social & Cultural Awareness แตกต่างอย่างเข้าใจ

Starfish Academy
1382 views • 4 ปีที่แล้ว
Social & Cultural Awareness แตกต่างอย่างเข้าใจ